โครงการวิจัย ความรู้ ทัศนคติ และการประกอบเวชปฏิบัติเกี่ยวกับการดูแลรักษาสตรีวัยหมดระดูด้วยฮอร์โมนในแพทย์ไทย
เรียน ท่านผู้ตอบแบบสอบถาม
แบบสอบถามฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อสำรวจ ความรู้ ทัศนคติ และการประกอบเวชปฏิบัติเกี่ยวกับการบำบัดด้วยฮอร์โมนในสตรีวัยหมดระดูและการดูแลรักษาสตรีวัยหมดระดู ในแพทย์ประจำบ้านและแพทย์ประจำบ้านต่อยอด สาขาสูตินรีแพทย์ในประเทศไทย และในแพทย์เวชปฏิบัติที่ไม่ใช่สูตินรีแพทย์ในประเทศไทยในปัจจุบัน เพื่อนำไปสู่การดูแลสตรีวัยหมดระดูที่ถูกต้อง เหมาะสม และทันสมัยต่อหลักฐานเชิงประจักษ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ข้อมูลที่ได้จะนำไปประยุกต์ใช้สำหรับพัฒนาการเรียนการสอน การอบรม โดยมุ่งหวังให้เกิดองค์ความรู้การดูแลคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นของสตรีวัยหมดระดูไทยในวงกว้าง
แบบสอบถามนี้จะไม่ระบุตัวตนในการตอบแบบสอบถามและใช้เวลาประมาณ 20 นาที ท่านสามารถออกจากการศึกษาได้ทุกเมื่อที่ท่านต้องการ โดยไม่มีผลต่อการฝึกอบรม การสมัครเรียนต่อ หรือการปฏิบัติงานแต่อย่างใด ข้อมูลทั้งหมดจะถูกเก็บเป็นความลับและนำเสนอการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นภาพรวมเท่านั้น
แบบสอบถามนี้มี 2 ส่วนคือ
1. ข้อมูลพื้นฐาน
2. แบบประเมินความรู้ ทัศนคติ และการประกอบเวชปฏิบัติเกี่ยวกับการบำบัดด้วยฮอร์โมนในสตรีวัยหมดระดูและการดูแลรักษาสตรีวัยหมดระดู
1. สถานะใดตรงกับท่านมากที่สุด
* must provide value
ท่านเป็นสูตินรีแพทย์ที่ประกอบเวชปฏิบัติในประเทศไทย (รวมผู้ที่กำลังฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านในหลักสูตรสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา)
ท่านเป็นแพทย์ที่ประกอบเวชปฏิบัติในประเทศไทยที่ไม่ใช่สูตินรีแพทย์
ไม่ใช่ทั้งคู่
2.ท่านยินยอมเข้าร่วมโครงการวิจัยและยินดีตอบแบบสอบถามตามความเป็นจริงหรือไม่
* must provide value
ยินยอม
ไม่ยินยอม
ท่านมีอายุอยู่ในช่วงใด
* must provide value
20-29 ปี
30-39 ปี
40-49 ปี
50-59 ปี
60 ปี หรือมากกว่านั้น
เพศของท่าน คือ
* must provide value
ชาย
หญิง
อื่น ๆ
ไม่ประสงค์จะระบุ
โปรดระบุเพศ อื่น ๆ
* must provide value
สถานะใดตรงกับท่านมากที่สุด
* must provide value
ท่านอยู่ระหว่าง ศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้าน/แพทย์ประจำบ้านอนุสาขาสาขาสูตินรีแพทย์
ท่านสำเร็จ การศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้าน/แพทย์ประจำบ้านอนุสาขาสาขาสูตินรีแพทย์ ภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา
ท่านสำเร็จ การศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้าน/แพทย์ประจำบ้านอนุสาขาสาขาสูตินรีแพทย์ เกินกว่า 12 เดือนมาแล้ว
แพทย์ประจำบ้านและแพทย์ประจำบ้านอนุสาขา สาขาสูตินรีแพทย์ในประเทศไทย
สถานะใดตรงกับท่านมากที่สุด
* must provide value
แพทย์ประจำบ้าน ชั้นปีที่ 1 หรือแพทย์ปฏิบัติงานเพื่อการสอบวุฒิบัตร (แพทย์พี่เลี้ยง) ปีที่ 2
แพทย์ประจำบ้าน ชั้นปีที่ 2 หรือแพทย์ปฏิบัติงานเพื่อการสอบวุฒิบัตร (แพทย์พี่เลี้ยง) ปีที่ 3
แพทย์ประจำบ้าน ชั้นปีที่ 3 หรือแพทย์ปฏิบัติงานเพื่อการสอบวุฒิบัตร (แพทย์พี่เลี้ยง) ปีที่ 4
แพทย์ประจำบ้านอนุสาขา ชั้นปีที่ 1
แพทย์ประจำบ้านอนุสาขา ชั้นปีที่ 2
สูตินรีแพทย์ในประเทศไทยที่สำเร็จการศึกษา/อบรมภายใน 12 เดือน
สถานะใดตรงกับท่านมากที่สุด
* must provide value
ท่านสำเร็จการศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้าน ภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา
ท่านสำเร็จการศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้านอนุสาขา ภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา
สูตินรีแพทย์ในประเทศไทยที่สำเร็จการศึกษา/อบรมเกินกว่า 12 เดือนที่ผ่านมา
ท่านจบการศึกษา/อบรมทางการแพทย์ระดับสูงสุด หรือ สาขาวิชากำลังศึกษาต่ออยู่ขณะนี้ คือ
* must provide value
สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาทั่วไป
อนุสาขาเวชศาสตร์เชิงกรานสตรีและศัลยกรรมซ่อมเสริม
อนุสาขาเวชศาสตร์มารดาและทารกในครรภ์
อนุสาขาเวชศาสตร์การเจริญพันธุ์
อนุสาขามะเร็งวิทยานรีเวช
อื่น ๆ
ท่านเลือกอื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ปัจจุบันท่านกำลังศึกษาอยู่/สำเร็จการศึกษาจาก สถาบันฝึกอบรมประเภทใด
* must provide value
โรงเรียนแพทย์ในสังกัดมหาวิทยาลัย
โรงพยาบาลศูนย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
อื่น ๆ
ท่านเลือกอื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ปัจจุบันท่านประกอบวิชาชีพเวชปฏิบัติที่ภูมิภาคใดของประเทศไทย
* must provide value
กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
ภาคเหนือ
ภาคกลาง (รวมภาคตะวันตก และประจวบคีรีขันธ์)
ภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต้
ปัจจุบันท่านกำลังปฏิบัติงานอยู่ ในตำแหน่งใด
* must provide value
แพทย์ปฏิบัติการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
แพทย์ปฏิบัติการในสังกัดกระทรวงอื่น
อาจารย์แพทย์ ในสังกัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
อาจารย์แพทย์สังกัด โรงเรียนแพทย์อื่น ๆ
แพทย์เวชปฏิบัติสังกัดเอกชน
อื่น ๆ
ท่านเลือกแพทย์ปฏิบัติการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ระดับอำเภอ
ระดับจังหวัด
รพ.ศูนย์
ท่านเลือกแพทย์ปฏิบัติการในสังกัดกระทรวงอื่น โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ท่านเลือกอาจารย์แพทย์สังกัด โรงเรียนแพทย์อื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ท่านเลือกแพทย์เวชปฏิบัติสังกัดเอกชน โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
โรงพยาบาลเอกชน
คลินิก
ท่านเลือกอื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ระยะเวลาที่ท่านได้ปฏิบัติงานภายหลังจบการศึกษา/อบรมทางการแพทย์ระดับสูงสุด
* must provide value
0-4 ปี
5-9 ปี
10-14 ปี
15-19 ปี
ตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป
สถานะใดตรงกับท่านมากที่สุด
* must provide value
ท่านจบการศึกษาแพทยศาสตร์บัณฑิตและยังไม่ได้ทำการศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้าน/แพทย์ประจำบ้านอนุสาขาเพิ่มเติม
ท่านอยู่ระหว่าง ศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้าน/แพทย์ประจำบ้านอนุสาขา
ท่านสำเร็จ การศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้าน/แพทย์ประจำบ้านอนุสาขาภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา
ท่านสำเร็จ การศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้าน/แพทย์ประจำบ้านอนุสาขา เกินกว่า 12 เดือนมาแล้ว
สถานะใดตรงกับท่านมากที่สุด
* must provide value
แพทย์ประจำบ้าน ชั้นปีที่ 1 หรือแพทย์ปฏิบัติงานเพื่อการสอบวุฒิบัตร (แพทย์พี่เลี้ยง) ปีที่ 2
แพทย์ประจำบ้าน ชั้นปีที่ 2 หรือแพทย์ปฏิบัติงานเพื่อการสอบวุฒิบัตร (แพทย์พี่เลี้ยง) ปีที่ 3
แพทย์ประจำบ้าน ชั้นปีที่ 3 หรือแพทย์ปฏิบัติงานเพื่อการสอบวุฒิบัตร (แพทย์พี่เลี้ยง) ปีที่ 4
แพทย์ประจำบ้านอนุสาขา ชั้นปีที่ 1
แพทย์ประจำบ้านอนุสาขา ชั้นปีที่ 2
สถานะใดตรงกับท่านมากที่สุด
* must provide value
ท่านสำเร็จการศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้าน ภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา
ท่านสำเร็จการศึกษา/อบรมแพทย์ประจำบ้านอนุสาขา ภายใน 12 เดือนที่ผ่านมา
ท่านจบการศึกษา/อบรมทางการแพทย์ระดับสูงสุด หรือ สาขาวิชากำลังศึกษาต่ออยู่ขณะนี้ คือ (เลือกเพียงข้อเดียว)
* must provide value
แพทยศาสตรบัณฑิต
เวชศาสตร์ครอบครัว
อายุรศาสตร์
เวชศาสตร์ชะลอวัย
หลักสูตรด้านโรคผิวหนัง และความงาม (นอกเหนือจากตจวิทยา)
อื่น ๆ
ท่านเลือกอายุรศาสตร์ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
อายุรศาสตร์ทั่วไป
อายุรศาสตร์อนุสาขา
ท่านเลือกอายุรศาสตร์อนุสาขา โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ท่านเลือกเวชศาสตร์ชะลอวัย โปรดระบุรายละเอียดการอบรม (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
* must provide value
ท่านเลือกอบรมภายในประเทศ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
หลักสูตรระยะเวลาน้อยกว่า 1 ปี
หลักสูตรระยะเวลา 1 ปีขึ้นไป
ท่านเลือกอบรมต่างประเทศ โปรดระบุประเทศ
* must provide value
สหรัฐอเมริกา
สหราชอาณาจักร
อื่น ๆ
ท่านเลือกประเทศอื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
โปรดระบุหลักสูตรที่ท่านได้รับการอบรม
* must provide value
ท่านเลือกหลักสูตรด้านโรคผิวหนัง และความงาม (นอกเหนือจากตจวิทยา) โปรดระบุรายละเอียดการอบรม (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
* must provide value
ท่านเลือกอบรมภายในประเทศ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
หลักสูตรระยะเวลาน้อยกว่า 1 ปี
หลักสูตระยะเวลา 1 ปีขึ้นไป
ท่านเลือกอบรมต่างประเทศ โปรดระบุประเทศ
* must provide value
สหรัฐอเมริกา
สหราชอาณาจักร
อื่น ๆ
ท่านเลือกประเทศอื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
โปรดระบุหลักสูตรที่ท่านได้รับการอบรม
* must provide value
ท่านเลือกหลักสูตรอื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ปัจจุบันท่านกำลังศึกษาอยู่/สำเร็จการศึกษาจาก สถาบันฝึกอบรมประเภทใด
* must provide value
โรงเรียนแพทย์ในสังกัดมหาวิทยาลัย
โรงพยาบาลศูนย์ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
อื่น ๆ
ท่านเลือกอื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ปัจจุบันท่านประกอบวิชาชีพเวชปฏิบัติที่ภูมิภาคใดของประเทศไทย
* must provide value
กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล
ภาคเหนือ
ภาคกลาง (รวมภาคตะวันตก และประจวบคีรีขันธ์)
ภาคตะวันออก
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคใต้
ปัจจุบันท่านกำลังปฏิบัติงานอยู่ ในตำแหน่งใด (เลือกเพียง 1 ข้อที่ตรงกับท่านมากที่สุด)
* must provide value
แพทย์ใช้ทุน (intern)
แพทย์ปฏิบัติการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
แพทย์ปฏิบัติการในสังกัดกระทรวงอื่น
อาจารย์แพทย์ ในสังกัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
อาจารย์แพทย์สังกัด โรงเรียนแพทย์อื่น ๆ
แพทย์เวชปฏิบัติสังกัดเอกชน
อื่น ๆ
ท่านเลือกแพทย์ปฏิบัติการในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ระดับอำเภอ
ระดับจังหวัด
รพ.ศูนย์
ท่านเลือกแพทย์ปฏิบัติการในสังกัดกระทรวงอื่น โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ท่านเลือกอาจารย์แพทย์สังกัด โรงเรียนแพทย์อื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ท่านเลือกแพทย์เวชปฏิบัติสังกัดเอกชน โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
โรงพยาบาลเอกชน
คลินิก
ท่านเลือกอื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
ระยะเวลาที่ท่านได้ปฏิบัติงานภายหลังจบการศึกษา/อบรมทางการแพทย์ระดับสูงสุด
* must provide value
0-4 ปี
5-9 ปี
10-14 ปี
15-19 ปี
ตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป
ในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา ท่านได้ประกอบเวชปฏิบัติตรวจสตรีที่มีอาการของวัยหมดระดูจำนวนเท่าใด
* must provide value
1 - 5 ราย
6 - 10 ราย
11 - 20 ราย
21 - 30 ราย
มากกว่า 30 ราย
ไม่ได้ตรวจเลย
ในระหว่างการศึกษา/การฝึกอบรม ท่านได้รับฟังการบรรยาย/การสอน/การอบรม เกี่ยวกับเรื่องการดูแลรักษาสตรีวัยหมดระดูจำนวนกี่ครั้ง
* must provide value
0 ครั้ง
1 ครั้ง
2 ครั้ง
3 ครั้ง
ตั้งแต่ 4 ครั้งขึ้นไป
ใน 3 ปีที่ผ่านมา ท่านเข้าร่วมการประชุมวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสตรีวัยหมดระดูที่ไม่ได้อยู่ในหลักสูตร หรือตารางปฏิบัติงานจำนวนกี่ครั้ง
* must provide value
0 ครั้ง
1 ครั้ง
2 ครั้ง
3 ครั้ง
มากกว่า 4 ครั้ง
ในระหว่างการศึกษา/การฝึกอบรม ท่านได้ตรวจ แปลผล วางแผนดูแลรักษา หรือให้คำปรึกษาสตรีที่มีอาการของวัยหมดระดูมากน้อยเพียงใด
* must provide value
เป็นประจำ
หลายครั้ง
บางครั้ง
ไม่เคยเลย
ท่านรู้สึกมีความมั่นใจที่จะดูแลรักษาสตรีวัยหมดระดูมากแค่ไหน
* must provide value
ไม่มีความมั่นใจเลย
ไม่ค่อยมั่นใจ
มั่นใจพอสมควร
มั่นใจมาก
ท่านคิดว่าการฝึกอบรมเรื่องการดูแลรักษาสตรีวัยหมดระดู มีความสำคัญเพียงใด
* must provide value
สำคัญมาก
สำคัญพอสมควร
รู้สึกเฉย ๆ
ไม่ค่อยสำคัญ
ไม่สำคัญอย่างยิ่ง
ท่านติดตามแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับเวชปฏิบัติด้านการดูแลรักษาสตรีวัยหมดระดูจากที่ใด (ตอบได้หลายข้อ)
* must provide value
ท่านเลือกอื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
1. การวินิจฉัยภาวะหมดระดูประกอบด้วยข้อใด
* must provide value
สตรีไม่มีระดูติดต่อกันนาน 12 เดือน ในช่วงอายุที่เหมาะสมกับวัยหมดระดู
ระดับ Follicle stimulating hormone (FSH) ในเลือดเพิ่มขึ้น
มีอาการ Vasomotor symptoms (hot flush/night sweats)
ถูกทุกข้อ
2. อาการของวัยหมดระดู มีดังนี้
3. อายุเฉลี่ยที่เข้าสู่วัยหมดระดูของสตรีไทย คือ
* must provide value
45 ปี
50 ปี
55 ปี
60 ปี
ไม่ทราบคำตอบ
4. สตรีไทย อายุ 48 ปี มีระดูปริมาณมากติดต่อกันนานกว่า 10 วัน หลังจากขาดระดูไป 2 เดือน การตรวจเพิ่มเติมที่เหมาะสม คือ
* must provide value
A pregnancy test
Pelvic ultrasound
Endometrial biopsy
Complete blood count (CBC) and thyroid function studies
ถูกทุกข้อ
5. สตรีไทย อายุ 52 ปี มีระดูครั้งสุดท้ายเมื่อ 2 ปีก่อน มีอาการร้อนวูบวาบและเหงื่อแตกอย่างรุนแรง ไม่มีประวัติมะเร็งชนิดที่ตอบสนองต่อเอสโตรเจน ไม่เคยมีโรคหลอดเลือดหัวใจ ได้พยายามบรรเทาอาการด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม หรือ ซื้อผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ตามร้านขายยมาใช้เอง แต่อาการไม่ดีขึ้นเลย การรักษาในข้อใดเป็นวิธีการรักษาแรก สำหรับสตรีท่านนี้
* must provide value
Menopausal hormone therapy
SSRI/SNRI
Gabapentin
Clinical hypnosis/ cognitive behavioral therapy
ไม่ต้องรักษาเลย
ไม่ทราบคำตอบ
6. สตรีไทยวัยหมดระดู อายุ 53 ปี มีอาการร้อนวูบวาบและเหงื่อแตกอย่างรุนแรง ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ข้อห้าม ของการรักษาด้วยฮอร์โมนวัยหมดระดู (Menopausal hormone therapy)
* must provide value
History of myocardial infarction
History of stroke
History of hypertension
History of venous thromboembolism
History of breast cancer
7. สตรีไทย อายุ 39 ปี หมดระดูมา 1 ปี เข้าได้กับภาวะ Premature Ovarian Insufficiency ข้อแนะนำในการใช้ฮอร์โมนวัยหมดระดู (Menopausal hormone therapy) คือข้อใด
* must provide value
ใช้ฮอร์โมนวัยหมดระดู (Menopausal hormone therapy) ติดต่อกันนาน 3-5 ปี
ใช้ฮอร์โมนวัยหมดระดู (Menopausal hormone therapy) ถ้าสตรีท่านนี้มีอาการ vasomotor symptoms เท่านั้น
ใช้ฮอร์โมนวัยหมดระดู (Menopausal hormone therapy) ติดต่อกันอย่างน้อยจนถึงอายุ 50 ปี
ไม่แนะนำให้ใช้ ฮอร์โมนวัยหมดระดู (Menopausal hormone therapy) เลย
8. สตรีไทยวัยหมดระดู อายุ 53 ปี ยังมีมดลูกอยู่ มีอาการร้อนวูบวาบและเหงื่อแตกอย่างรุนแรง ไม่มีข้อห้ามต่อการใช้ฮอร์โมนวัยหมดระดู (Menopausal hormone therapy) ข้อแนะนำในการใช้ฮอร์โมนวัยหมดระดู (Menopausal hormone therapy) คือข้อใด
* must provide value
Systemic estrogen only
Systemic estrogen plus a progestogen
Progestogen only
Low dose vaginal estrogen
9. สตรีไทยวัยหมดระดู อายุ 58 ปี ยังมีมดลูกอยู่ ไม่มีอาการ vasomotor symptoms เลย มีแต่อาการช่องคลอดแห้งอย่างมากและเจ็บเวลาร่วมเพศทั้งที่ใช้สารหล่อลื่น (lubricant) และ vaginal moisturizers แล้ว ข้อแนะนำในการรักษาคือข้อใด
* must provide value
Systemic estrogen only
Systemic estrogen plus a progestogen
Low dose vaginal estrogen
Low dose vaginal estrogen plus a progestogen
10. ขอให้กากบาท (X) ในช่องเพื่อแสดงความเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยในแต่ละข้อด้านล่างนี้ (โปรดตอบตามความเป็นจริงและใกล้เคียงความรู้สึกมากที่สุด)
10.1 สตรีไทย อายุ 48 ปี มีอาการของการหมดระดูที่เป็นข้อบ่งชี้ของการรักษาด้วยฮอร์โมน ท่านเห็นด้วยกับ การเลือกใช้ Systemic menopausal hormone therapy ในกรณีต่อไปนี้หรือไม่
10.2 สตรีไทย อายุ 58 ปี มีอาการช่องคลอดแห้งอย่างมาก และเจ็บเวลาร่วมเพศทั้งที่ใช้สารหล่อลื่น (lubricant) และ vaginal moisturizers แล้ว ท่านเห็นด้วยกับ การเลือกใช้ Vaginal menopausal hormone therapy ในกรณีต่อไปนี้หรือไม่
10.3 ในความเห็นส่วนตัว ท่านจะสนับสนุนให้ตัวท่านเอง และ/หรือ สมาชิกในครอบครัว (ภรรยา มารดา พี่สาว/น้องสาว) ใช้ menopausal hormone therapy เพื่อรักษาอาการของวัยหมดระดูอย่างไร
11. ในเวชปฏิบัติของท่าน ท่านจะแนะนำเกี่ยวกับระยะเวลาการรักษาด้วย Menopausal hormone therapy อย่างไร ในสตรีวัยหมดระดูที่เริ่มใช้ตั้งแต่ในช่วง menopause transition
* must provide value
แนะนำให้ใช้เป็นระยะเวลาสั้นที่สุดและหยุดทันเมื่อสามารถหยุดได้
แนะนำให้ใช้เป็นระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี
แนะนำให้หยุดเมื่อใช้ครบ 10 ปี หรือ เมื่ออายุ 60 ปี
แนะนำให้ใช้เป็นระยะเวลานานเท่าที่จำเป็น โดยที่ประเมินประโยชน์และความเสี่ยงของสตรีท่านนั้นอย่างสม่ำเสมอ
12. ในเวชปฏิบัติของท่าน เมื่อสตรีวัยหมดระดูจะหยุดใช้ Menopausal hormone therapy ท่านจะแนะนำวิธีหยุดอย่างไรเป็นแบบแรก
* must provide value
หยุดใช้ฮอร์โมนทันที
หยุดแบบค่อย ๆ ลดปริมาณลง (Taper)
อื่น ๆ
ท่านเลือกอื่น ๆ โปรดระบุรายละเอียด
* must provide value
13. ในเวชปฏิบัติของท่าน เมื่อสตรีวัยหมดระดูกลับมามีอาการร้อนวูบวาบหรือเหงื่อแตกกลางคืนอีก หลังจากหยุดใช้ Menopausal hormone therapy ไประยะหนึ่งแล้ว ท่านจะแนะนำการดูแลรักษาตามตัวเลือกด้านล่างบ่อยเพียงไร
ท่านสามารถระบุ Alternative medicine and herbal remedies อื่น ๆ ได้
***ขอขอบคุณที่ท่านตอบแบบสอบถามชุดนี้จนครบถ้วนสมบูรณ์***